หน้าแรก | ข้อมูลเกี่ยวกับประเทศไทย | รัฐบาล

 

หน่วยงานสหประชาชาติในไทย
หน่วยงานของ UN 24 หน่วยงาน
กำลังปฎิบัติงานอยู่ในประเทศไทย
ติดต่อและค้นหาหน่วยงานต่างได้ที่นี่
ลิงค์ที่มีประโยชน์
องค์การสหประชาชาติ
ระบบ/โครงสร้างองค์การสหประชาชาติ
UN Millennium Summit
ESA
ข้อมูลสถิติ
ธนาคารโลก
กองทุนการเงินระหว่างประเทศ
 
 
ข้อมูลเกี่ยวกับประเทศไทย
รัฐบาล
ข้อมูลพื้นฐาน
ระบอบการปกครอง ระบอบราชาธิปไตยภายใต้รัฐธรรมนูญ
เมืองหลวง กรุงเทพมหานคร
การแบ่งการปกครอง 77 จังหวัด
รัฐธรรมนูญ รัฐธรรมนูญใหม่ได้รับการลงพระปรมาภิไธยโดยภูมิพล-อดุลยเดช ป.ร. เมื่อ วันที24 สิงหาคม 2550
ประมุขแห่งรัฐ ภูมิพลอดุลยเดช ป.ร. (ตั้งแต่วันที่ 9 มิถุนายน 2489)
หัวหน้าคณะรัฐบาล นายกรัฐมนตรี นางสาวยิ่งลักษณ์ ชินวัตร
รองนายกรัฐมนตรี

นายกิตติรัตย์ ณ ระนอง
นายยงยุทธ วิชัยดิษฐ

นายชุมพล ศิลปอาชา
พลเอกยุทธศักดิ์ ศศิประภา

ร้อยตำรวจเอก เฉลิม อยู่บำรุง

รัฐมนตรีประจำสำนัก นายกรัฐมนตรี

นายวรวัจน์ เอื้ออภิญญกุล
นางนลินี ทวีสิน

นายนิวัฒน์ธำรง บุญทรงไพศาล

 

รัฐมนตรีกลาโหม พลอากาศเอก สุกำพล สุวรรณทัต
รัฐมนตรีคลัง
นายกิตติรัตย์ ณ ระนอง
รัฐมนตรีช่วยคลัง นายทนุศุกัดิ์ เล็กอุทัย
รัฐมนตรีต่างประเทศ นายสุรพงษ์ โตวิจักษณ์ชัยกุล
รัฐมนตรีการท่องเที่ยวและกีฬา นายชุมพล ศิลปอาชา
รัฐมนตรีพัฒนาสังคม
และความมั่นคงมนุษย์
นายสันติ พร้อมพัฒน์
รัฐมนตรีเกษตรและสหกรณ์ นายธีระ วงศ์สมุทร
รัฐมนตรีช่วยเกษตรและสหกรณ์ นายณัฐวุฒิ ใสยเกื้อ
รัฐมนตรีคมนาคม นายจารุพงศ์ เรืองสุวรรณ
รัฐมนตรีช่วยคมนาคม

พลตำรวจโท ชัจจ์ กุลดิลก

นายชัชชาติ สิธิพันธุ์

รัฐมนตรีทรัพยากรธรรมชาติ
และสิ่งแวดล้อม
นายปรีชา เร่งสมบูรณ์สุข
รัฐมนตรีเทคโนโลยีสารสนเทศ
และการสื่อสาร
นาวาอากาศเอก อนุดิษฐ์ นาครทรรพ
รัฐมนตรีพาณิชย์ นายบุญทรง เตริยาภิรมย์
รัฐมนตรีช่วยพาณิชย์

นายภูมิ สาระผล

นายศิริวัฒน์ ขจรประศาสน์

รัฐมนตรีพลังงาน นายอารักษ์ ชลธาร์นนท์
รัฐมนตรีมหาดไทย นายชูชาติ หาญสวัสดิ์
รัฐมนตรีช่วยมหาดไทย นายฐานิสร์ เทียนทอง
รัฐมนตรียุติธรรม พลตำรวจเอก ประชา พรหมนอก
รัฐมนตรีแรงงานและสวัสดิการสังคม นายเผดิมชัย สะสมทรัพย์
รัฐมนตรีวัฒนธรรม นางสุกุมล คุณปลื้ม
รัฐมนตรีวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี นายปลอดประสพ สุรัสวดี
รัฐมนตรีศึกษาธิการ นายสุชาติ ธาดาธำรงเวช
รัฐมนตรีช่วยศึกษาธิการ

นายศุักดา คงเพชร

รัฐมนตรีสาธารณสุข นายวิทยา บุรณศิริ
รัฐมนตรีช่วยสาธารณสุข นายสุรวิทย์ คนสมบูรณ์
รัฐมนตรีอุตสาหกรรม หม่อมราชวงศ์พงษ์สวัสดิ์ สวัสดิวัตน์
การเลือกตั้ง พระมหากษัตริย์สืบสันตติวงศ์จากปฐมกษัตริย์ของราชวงศ์-จักรี นายกรัฐมนตรีได้รับแต่งตั้งจากสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรภายหลังจากการเลือกตั้งทั่วไป ปกติหัวหน้าพรรคที่สามารถจัดตั้งรัฐบาลผสมเสียงข้างมากได้จะเป็นนายกรัฐมนตรี


ฯพณฯ นายกรัฐมนตรีอภิสิทธิ์ เวชชาชีวะได้ประกาศอาณัติใหม่ของรัฐบาลในการแถลงนโยบายเมื่อเดือนธันวาคม 2551 ซึ่งกล่าวถึงความท้าทายสำคัญที่ประเทศกำลังเผชิญอยู่ในปัจจุบัน และรัฐบาลนี้มีนโยบาย 9 ข้อที่จะดำเนินการเพื่อรับมือกับความท้าทายดังกล่าว


ประเด็นสำคัญที่รัฐบาลเน้นคือ การสร้างประเทศบนรากฐาน “โครงสร้างที่สมดุล มั่งคั่ง มั่นคง และยั่งยืน” ด้วยนโยบายต่อไปนี้


1. การขจัดความยากจนให้หมดไป
2. การพัฒนามนุษย์และคุณภาพชีวิต
3. การปรับโครงสร้างทางเศรษฐกิจเพื่อสร้างดุลยภาพและความสามารถในการแข่งขัน
4. ทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อม
5. นโยบายต่างประเทศและนโยบายเศรษฐกิจระหว่างประเทศ
6. การพัฒนาระบบกฎหมายและธรรมาภิบาล
7. การส่งเสริมประชาธิปไตยและกระบวนการประชาสังคม
8. ความมั่นคงในชาติ
9. นโยบายตามหลักการชี้นำของนโยบายพื้นฐานแห่งรัฐ